รางวัลวิจัย ระดับชาติ ปี 2564

รางวัลผลงานประดิษฐ์คิดค้น ประจำปี 2564 จากสภาวิจัยแห่งชาติ งาน "วันนักประดิษฐ์" ประจำปี 2564

Award-SUPAYANG.png

รางวัลผลงานวิจัย ระดับดีมาก (สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา) จากผลงานวิจัยเรื่อง “การศึกษามุ่งเป้าสารโรโดไมรโทนจากสมุนไพร ใบกระทุ (วงศ์ชมพู่) เป็นยาปฏิชีวนะกลุ่มใหม่และการใช้เทคโนโลยีต่อยอดเป็นนวัตกรรม สู่การใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์” (Strategic Researches on Rhodomyrtone from a Medicinal Plant ‘Rhodomyrtus Tomentosa’ (Myrtaceae) as a Novel Antibiotic and Uses of Innovative Technology for Commercial Applications) โดยทีมวิจัย

          - ศาสตราจารย์ ดร.ศุภยางค์ วรวุฒิคุณชัย คณะวิทยาศาสตร์

          - ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วีรพงศ์ วัฒนาวนิช คณะแพทยศาสตร์

          - ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ฉลองรัฐ แดงงาม คณะวิทยาศาสตร์

          - รองศาสตราจารย์ ดร.ธนภร อำนวยกิจ คณะเภสัชศาสตร์

          - ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วรมย์ญลิน ทิพย์มณี คณะแพทยศาสตร์

Award-Ititpol.png   รางวัลวิทยานิพนธ์ ระดับดีเด่น (สาขาวิศวกรรมศาสตร์และอุตสาหกรรมวิจัย)จากวิทยานิพนธ์เรื่อง “เซลล์เชื้อเพลิงไฟฟ้าชีวเคมี สาหรับใช้เป็นเซนเซอร์และอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ชีวภาพแบบพึ่งพาพลังงานจากตนเอง เพื่อการประยุกต์ใช้ในทางชีวการแพทย์” (Biofuel Cells for Self-Powered Biosensors and Bioelectronics Toward Biomedical Applications) โดย ดร.อิทธิพล จีระพันธ์ คณะวิทยาศาสตร์
Award-SIRAWIT.png   รางวัลวิทยานิพนธ์ ระดับดีเด่น (สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา) จากวิทยานิพนธ์เรื่อง “ความสัมพันธ์ระหว่างโรคทางพันธุกรรมกับโครงสร้างและปฏิสัมพันธ์ของ โปรตีน” (The Relationships Between Genetic Diseases and the Structures of Protein and their Interactions) โดย ดร.สิรวิชญ์ อิทธิโสภณพิศาล คณะวิทยาศาสตร์
Award-Pailin.png  

รางวัลวิทยานิพนธ์ ระดับดี (สาขาปรัชญา) จากวิทยานิพนธ์เรื่อง “งานวิจัยเชิงสร้างสรรค์ผ่านการศึกษาป่า ต้นไม้ และใบไม้จากอุทยานแห่งชาติเขาน้ำค้าง อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา” (Exploring Visual Elements Through Natural Resources: Forest, Tree and Leaf at Khao Nam Khang National Park, Thailand) โดย ดร.ไพลิน ถาวรวิจิตร วิทยาลัยนานาชาติ

Award-Nattaporn.png   รางวัลวิทยานิพนธ์ ระดับดี (สาขาเศรษฐศาสตร์) จากวิทยานิพนธ์เรื่อง “การศึกษากระบวนการการตัดสินใจของปัจเจกบุคคล ด้วยแบบจำลอง ทางเศรษฐศาสตร์พฤติกรรม และการทดลองทางเศรษฐศาสตร์ในห้องปฏิบัติการ” (How Do People Choose? An Experimental Investigation of Models of ‘Sub-optimal’ Decision Making) โดย ดร.นัฐพร โรจนหัสดิน คณะเศรษฐศาสตร์
Award-Teerasak.png   อาจารย์ที่ปรึกษาหลักรางวัลวิทยานิพนธ์ ระดับดี (สาขาเศรษฐศาสตร์) จากวิทยานิพนธ์เรื่อง “การออกแบบเชิงปฏิบัติของคุณลักษณะร้านค้าปลีกแบบดั้งเดิมในประเทศไทยด้วยการวิเคราะห์คอนจอยท์” (Practical Design of Store Attributes for Traditional Retailer in Thailand with Conjoint Analysis)  โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธีรศักดิ์ จินดาบถ คณะวิทยาการจัดการ
Award-Noratep.png  

รางวัลวิทยานิพนธ์ ระดับดี (สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและนิเทศศาสตร์) จากวิทยานิพนธ์เรื่อง “การยืนยันระยะไกลสาหรับอุปกรณ์ฝังตัวและอินเตอร์เน็ตของทุกสิ่ง ในระบบนิรภัยวิกฤต” (Secure Remote Attestation for Safety-Critical Embedded IoT Devices) โดย ดร.นรเทพ รัตนวิภานนท์ วิทยาลัยการคอมพิวเตอร์

 

โครงการยุววิสาหกิจเริ่มต้น ประจำปี 2564 Youth Startup Fund 2021 (Ideation Incentive Program) ของกองทุนพัฒนาผู้ประกอบการเทคโนโลยีและนวัตกรรม (TED Fund) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม มูลค่ากว่า 300,000 บาท เมื่อวันที่ 19 มีนาคม 2564

Award-SUP-TEAM.png

สถานวิจัยความเป็นเลิศด้านผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ คณะวิทยาศาสตร์  สำหรับโครงการที่ได้รับรางวัล มีดังนี้

    1.โครงการ SilverNano Gloves โดย ดร.สุภากิจ เภาเสน นักวิจัยหลังปริญญาเอก ทุนมูลค่า 100,000 บาท

    2.โครงการ Benya Patches โดย นายศักรินทร์ เหล่ทองคำ นักศึกษาปริญาเอก ทุนมูลค่า 100,000 บาท

    3.โครงการ สารสกัดใบกระทุช่วยเสริมสร้างภูมิคุ้มกันการติดเชื้อแบคทีเรียในปลานิล โดย นางสาวสุทธิวรรณ วุ่นหนู นักศึกษาปริญญาเอก ทุนมูลค่า 100,000 บาท

    โดยมีศาสตราจารย์ ดร.ศุภยางค์ วรวุฒิคุณชัย สังกัด สาขาวิทยาศาสตร์ชีวภาพ คณะวิทยาศาสตร์ และ สถานวิจัยความเป็นเลิศด้านผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เอกวิภู กาลกรณ์สุรปราณี สังกัด สาขาวิทยาศาสตร์กายภาพ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นเรศ ซ่วนยุก สาขาวิชาวาริชศาสตร์ คณะทรัพยากรธรรมชาติ เป็นที่ปรึกษาโครงการ

 

 

 

 

 

นโยบายแนวปฎิบัติการใช้คุกกี้

เรามีการใช้คุกกี้ที่มีความจำเป็นอย่างยิ่ง หรือเพื่อการทำงานของเว็บไซต์ และเครื่องมืออื่นๆ เพื่อช่วยเพิ่มประสบการณ์และเพื่อประสิทธิภาพในการใช้งาน คุณสามารถศึกษารายละเอียด นโยบายแนวปฎิบัติการใช้คุกกี้ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ได้ที่ Cookies Policy