รางวัลสุดยอดนวัตกรรมของประเทศไทย ประจำปี 2563 สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ เมื่อวันที่ 5 ตุลาคม 2563 ณ โรงแรมสยาม เคมปินสกี้ กรุงเทพฯ
![]() |
รางวัลชนะเลิศ รางวัลนวัตกรรมแห่งชาติ จาก ด้านสังคมและสิ่งแวดล้อม ประเภทหน่วยงานภาครัฐ ผศ.นพ.วรวิทย์ วาณิชย์สุวรรณ คณะแพทยศาสตร์ ได้รับ ในผลงาน อุปกรณ์รองรับสิ่งขับถ่ายจากทวารเทียม |
รางวัลผลงานประดิษฐ์คิดค้น ประจำปี 2563 จากสภาวิจัยแห่งชาติ งาน "วันนักประดิษฐ์" ประจำปี 2563 วันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2563 ณ Event Hall ศูนย์แสดงนิทรรศการและการประชุมไบเทค บางนา กรุงเทพฯ
![]() |
รางวัลผลงานประดิษฐ์คิดค้น ประจำปีงบประมาณ 2563 ระดับดีมาก สาขาวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัช ผลงานเรื่อง "อุปกรณ์ตรวจวัดแบบหยดน้ำสำหรับกลูโคส กรดยูริกและโดพามีนแบบพร้อมกัน" โดยทีมวิจัย ผศ.ดร.วรากร ลิ่มบุตร , นายอัสมี สอและ , นางสาวสุภาธิณี คงแก้ว , รศ.ดร.เพริศพิชญ์ คณาธารณา และ รศ.ดร.ปณต ถาวรังกูร คณะวิทยาศาสตร์ |
|
![]() |
รางวัลผลงานประดิษฐ์คิดค้น ประจำปีงบประมาณ 2563 รางวัลประกาศเกียรติคุณ สาขาการศึกษา ผลงานเรื่อง "ระบบแนะนำคำที่ใช้ทดแทนสำหรับงานเขียนภาษาอังกฤษ" (Alternative Word Suggestion System for English Writings (AltW)) โดยทีมวิจัย ดร.ณัฐพงศ์ ทองเทพ , นายศุภโชค หนูปาน , นายจิรายุ ชิณวงศ์ และ Mr.Borey Sok วิทยาลัยการคอมพิวเตอร์ วิทยาเขตภูเก็ต |
|
![]() |
รางวัลวิทยานิพนธ์ ประจำปีงบประมาณ 2563 ระดับดีมาก สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา วิทยานิพนธ์เรื่อง “การพัฒนากระบวนการในการกำจัดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ออกจากก๊าซชีวภาพและการผลิตไขมันโดยการเพาะเลี้ยงสาหร่ายไขมันสูง” (Process Development for Carbon Dioxide Removal from Biogas and Lipid Production by Oleaginous Microalgae Cultivation) โดย ดร.ศิรสิทธิ์ ศรีนวลปาน อาจารย์ที่ปรึกษาหลัก : ศาสตราจารย์ ดร.เบญจมาส เชียรศิลป์ คณะอุตสาหกรรมเกษตร |
|
![]() |
รางวัลวิทยานิพนธ์ ประจำปีงบประมาณ 2563 ระดับดี สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา วิทยานิพนธ์เรื่อง “ศักยภาพของสารโรโดไมรโทนจากใบกระทุในการรักษารอยโรคสะเก็ดเงิน” (Potency of Rhodomyrtone Isolated from Rhodomyrtus อาจารย์ที่ปรึกษาหลัก : ศาสตราจารย์ ดร.ศุภยางค์ วรวุฒิคุณชัย คณะวิทยาศาสตร์ |
การประชุมวิชาการนานาชาติ Pure and Applied Chemistry International Conference 2020 (PACCON2020) ซึ่งจะจัดขึ้น ณ ศูนย์แสดงสินค้าและการประชุม อิมแพค เมืองทองธานี กรุงเทพฯ ระหว่างวันที่ 13 - 14 กุมภาพันธ์ 2563
![]() |
รางวัลสมาคมเคมีแห่งประเทศไทยฯ ประจำปี พ.ศ. 2562 ประเภทที่ 5 Shimadzu-CST Young Chemist Award 2019 สาขา Analytical Chemistry ผศ.ดร.โอภาส บุญเกิด |
4.0 Thailand Energy of Innovation and Technology Awards 2019 (TEIT 2019) วันที่13 กรกฎาคม 2563 ณ ห้องแกรนด์ เอ บี โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพฯ
![]() |
รางวัลชมเชย ประเภทบุคคล ดร.วัฒนา รติสมิทธ์ และทีมวิจัย ผลงานวิจัยเรื่อง "แผงรับพลังงานแสงอาทิตย์แบบรางสะท้อนแสงที่ไม่ต้องอาศัยระบบติดตามดวงอาทิตย์สำหรับการทำความร้อนสูง" |
มหกรรมงานวิจัยแห่งชาติ 2563 (Thailand Research Expo 2020) เมื่อวันที่ 2-6 สิงหาคม 2563 ณ โรงแรมเซ็นทาราแกรนด์ และบางกอกคอนเวนชันเซ็นเตอร์ เซ็นทรัลเวิลด์ กรุงเทพฯ
![]() |
คณะวิทยาศาสตร์ 12 รางวัล จาก 7 ผลงาน ในต่อไนี้ |
Toyota Thailand Foundation Award 2020
![]() |
รางวัล ผลงานวิชาการดีเด่นTTF AWARD ประจำปี 2562-2563 ด้านสิ่งแวดล้อมและวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี รศ.ดร.การุณ ทองประจุแก้ว คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ผลงานเรื่อง “เอนไซม์ย่อยอาหารในสัตว์น้ำ” ณ หอประชุมใหญ่ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์ |
งาน THAILAND TECH SHOW 2019 โครงการ Life Sci. Level Up Challenge 2020 เมื่อวันที่ 2 กันยายน 2563 ณ ลาน Charoennakorn Hall, ICONSIAMจัดโดยสำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) กระทรวงการอุดมศึกษาวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ระหว่างวันที่ 5 - 6 กันยายน 2562 ณ เซ็นทรัลเวิลด์ฯ
![]() |
รางวัลรองชนะเลิศอันดับที่ 1 ดร.ทพญ.สุพิชชา ตลึงจิตร คณะทันตแพทยศาสตร์ , ผศ.ดร.จิตตรียา ตันสกุล คณะวิทยาศาสตร์ , รศ.ดร.ภญ.ขวัญจิต อึ๊งโพธิ์ สาขาวิชาเทคโนโลยีเภสัชกรรม คณะเภสัชศาสตร์ และ อ.ทิติพร ณ นคร คณะวิทยาการจัดการ จากผลงานนวัตกรรมสารยึดติดทางทันตกรรมที่ทนต่อการเสื่อมสภาพและต้านเชื้อแบคทีเรีย ใน PSU Smiles (รอยยิ้มของคนไทยโดย PSU) |
งาน Innovation Bazaar 2020 ภายใต้หัวข้อ BCG เศรษฐกิจใหม่ประเทศไทยยั่งยืน ณ ห้องแก้ววิเชียร ชั้น 11 ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย (SMEs D Bank) กรุงเทพมหานคร เมื่อวันที่ 16 ตุลาคม 2563
![]() |
รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 จากโครงการส่งเสริมศักยภาพผู้ประกอบการธุรกิจนวัตกรรมรายใหม่ระหว่างกิจการขนาดใหญ่และมหาวิทยาลัย (Business Brotherhood) 2563 นางสาวสุภากิจ เภาเสน , นายทรรษไนย แหวนเงิน , นางสาวสุทธิวรรณ วุ่นหนู และ นายศักรินทร์ เหล่ทองคำ คณะวิทยาศาสตร์ และมี ศาสตราจารย์ ดร.ศุภยางค์ วรวุฒิคุณชัย สถานวิจัยความเป็นเลิศด้านผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ และ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เอกวิภู กาลกรณ์สุรปราณี สังกัด สาขาวิชาวิทยาศาสตร์กายภาพ คณะวิทยาศาตร์ ผลงานเรื่อง Chronicare Patches วัสดุตกแต่งแผลจาก “แผ่นกาวว่องไวต่อการการกดที่ผลิตมาจากยางพารา” ของทีม Sci&Innova |